แนวคิด

                        วิทยานิพนธ์ชุดนี้เปีนโครงการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม 2 มิติ แบบสื่อประสม เพื่อใช้ตกแต่ง ภายในอาคารบริษัท อิเมจิ แมีกฃ์ ตั้งอยู่ที่ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ซื่งเปีนบริษัทที่ผลิตผลงานคอมพิวเตอร์กราฟฟิก อนิเมชั่น โดยสถาปนิกเน้นการออกแบบตัวอาคารที่สะท้อนถึงการรับรู้บริบทเมืองในวิถีชีวิตร่วมสมัยกับธรรมชาติ ตัว อาคารมีรูปทรงเปีนแนวยาวขนานกับถนน รูปทรงภายนอกที่เรียบเกลี้ยง โดดเด่นลอยตัวเสมือนเป็นฉากหลังใท้กับ ตัวอาคารเน้นสีเทาธรรมชาติจาคอนกรีตเปลือย ต่อเนื่องไปจนถึงโครงหลังคา เสา เหล็กโดยรอบท้าหน้าที่รับหลังคาและรักษาความโปร่งเบาของอาคารสร้างดุลยภาพรูปทรงโดยรวม เพื่มความแตกด่าง ของวัสดุระหว่างผนังคอนกรีตเปลือยกับผืนกระจก โถงบันไดทางเดียวสูงสามชั้น เพื่อดึงดูดความสนใจ และสร้าง รูปลักษณ์ที่ดูคท้ายท้อนนื้าแข็งลอยอยู่ในอากาศยามค์าคืนให้แก่อาคาร
                       การออกแบบสร้างสรรค์ผลงานจึงบุ่งเน้นให้เกิด อารมณ์ความรู้สึกถึง ความสงบ ผ่อนคลาย โดยใช้ เนื้อทา แนวความคิดที่มาจาก เรื่องราว ประสบการณ์ในอดีต โดยจัดวางองค์ประกอบแบบนามธรรมที่ไท้แรงบันดาล ใจด้านรูปแบบมาจากวงคลื่นของน้ำที่ใท้ความรู้สึกถึงการเกิดและดับ ชึ๋งการออกแบบติดตั้งผลงานเข้ากับพื้นที่ครั้งนี้ ไท้เลือกพื้นที่กรณีศึกษา 4 ชุดคือ บริเวณชุดที่1 หน้าทางเข้าออฟฟิศกำหนดให้ผลงานมีความยาวรับกับผนัง สีที่ใช้ใน ผลงานเป็นสีเทา เพื่อสร้างความสงบนิ่ง เน้นการทับช้อนกันของเส้นโค้งพื้นผิวที่เกิดจากความเรียบและหยาบ สร้าง ความโดดเด่นลอยตัวจากผนังคอนกรีต บริเวณชุดที่2 เป็นช่องว่างระหว่างทางเดินชั้นใท้ดิน มีความกับแคบ จึงกำหนด ผลงานใท้มีความนูน ความลึก เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหว สร้างแรงดึงดูดสายตาด้วยสีแดงสด เป็นการกระตุ้น ปลุกเร้า สร้างความตื่นตัวต่ออารมณ์ความรู้สึกของผู้พบเห็น บริเวณชุดที่3 โถงบันไดชั้น2 เป็นพื้นที่ว่างเชื่อมต่อกับผืนกระจก ขนาดใหญ่ จึงบุ่งเน้นการสร้างอารมณ์ในผลงานให้เกิดความเรียบง่าย บริสุทธิ์ แบ่งองค์ประกอบในผลงานเป็น3 ชิ้น เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหว กำหนดสีสันเป็นสีขาวเช่นเดียวกับผนัง เพื่อสร้างความกลมกลืน และเกิดความสว่าง สบาย ตาแก่ผู้ชม บริเวณธุคที่4 หน้าห้องทำงานชั้น2 เป็นพื้นที่ปฎิบัติงานของบริษัท จึงกำหนดให้ผลงานเป็นสีดำ สร้าง อารมณ์ความรู้สึก ถึงความหนักแน่น จริงจัง แต่ดูเย็นตา สร้างบรรยากาศความสึกลับน่าค้นหา
                       เมื่อทดลองติดตั้งผลงานในแบบจำลองสถานที่ตั้ง 4 ชุดแล้ว ผลงานสามารถสร้างอารมณ์ความรู้สึก ให้กับผู้ชมที่ผ่านไปมาได้ด้วย รูปทรง รายละเอียด และค่าของสีในผลงานแด่ละชิ้นสร้างความโดดเด่นให้กับพื้นที่ ติดตั้ง เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นผิวของคอนกรีตเปลือย ดูไม่มีชีวิตชีวา และลดทอนความเป็นเหลี่ยม สัน ที่มีอยู่มาก เช่น เสา บันได กระจกขนาดใหญ่ เป็นท้น ผลงานจึงเกิดเป็นรูปแบบศิลปะประยุกต์ที่ผสมผสานและสร้างความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ส่งเสริมสุนทรียภาพให้กับสถานที่

ภาพผลงาน

ชื่อภาพ :-

เทคนิค :-
ขนาด :-

ชื่อภาพ :-

เทคนิค :-
ขนาด :-

ชื่อภาพ :-

เทคนิค :-
ขนาด :-

ชื่อภาพ :-

เทคนิค :-
ขนาด :-